เกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว (Green Office)

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐานการประเมิน
หมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก
2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผลและบันทึกประวัติการฝึกอบรม
1. ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้
   - ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว
   - การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
   - การจัดการมลพิษและของเสีย
   - การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
   - ก๊าซเรือนกระจก
2.1.1.1 แผนการฝึกอบรมสำนักงานสีเขียว สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศประจำปี พ.ศ.2564(หมวด2 ข้อ2.1(1-3) การฝึกอบรม
- บันทึกการเข้าอบรมรับความรู้สำนักงานสีเขียว
2. ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร 2.1.1.2 รายงานสรุปการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรม สำนักวิทยบริการฯ ประจำปี พ.ศ.2564(ใบสรุปจำนวนผู้เข้าอบรมแต่ละโครงการ)
3. ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ ประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น 2.1.1.3 ประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปี พ.ศ.2564 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน 2.1.1.4 ประวัติการฝึกอบรม ประจำปี พ.ศ.2564 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม
1. ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องเข้าใจเนื้อหาในการอบรม
2. ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก ประวัติ หรือประสบการณ์ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)
2.1.2.1 ทะเบียนประวัติวิทยากร ประจำปี พ.ศ.2564 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน
1. กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้
   1. นโยบายสิ่งแวดล้อม
   2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ
   3. การปฏิบัติตามกฎหมาย
   4. ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (7ส.)
   5. เป้าหมายและมาตรการพลังงาน-ทรัพยากร (ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้าน้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และอื่นๆ)
   6. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย
   7. ผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย
   8. สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
   9. ก๊าซเรือนกระจก
2. กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร(ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
3. กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน)
4. กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
2.2.1.1 แผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี พ.ศ.2564(หมวด 2 ข้อ 2.2(1) การสื่อสาร)
2.2.1.2 คณะกรรมการการสื่อสารและสร้างจิตสำนึก หมวด2
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว
(สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1(1)
2.2.2.1 การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ ประจำปี พ.ศ.2564 (รูปภาพโปสเตอร์/สื่อทุกประเภทที่ใช้ในการสื่อสาร)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้
1. มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์
2. มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
3. มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
4. มีการรายงานข้อเสนอแนะและการจัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้เหมาะสม)
2.2.4.1 รายงานสรุปช่องทางการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข